หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 : การเคลื่อนที่แบบหมุน
7.1 ปริมาณต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการหมุน
ในการศึกษาการเคลื่อนที่แบบหมุน
วัตถุที่ศึกษาต้องมีรูปร่างที่แน่นอนซึ่งเรียกว่า วัตถุแข็งเกร็ง (Rigid body) เมื่อมีแรงกระทำต่อวัตถุในแนวไม่ผ่านศูนย์กลางมวล (C.M.) จะมีโมเมนต์ของแรงหรือในบทนี้เรียกว่า ทอร์ก ที่ไม่เป็นศูนย์มากระทำต่อวัตถุ...อ่านต่อ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
7.2 ทอร์กและโมเมนต์ความเฉื่อยกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
เมื่อออกแรงกระทำต่อวัตถุและแนวแรงไม่ผ่านจุดศูนย์กลางมวลหรือแกนหมุน
ผลที่เกิดขึ้น จะมีการหมุนเกิดขึ้น ซึ่งเรียกว่าเกิดโมเมนต์ของแรงรอบจุดหมุนนั้น
เรียกว่า ทอร์ก โดยทอร์กเป็นปริมาณเวกเตอร์...อ่านต่อ
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
7.3 การเคลื่อนที่ทั้งแบบเลื่อนที่และแบบหมุน
การเคลื่อนที่ของวัตถุบางครั้งอาจมีการเคลื่อนที่แบบเลื่อนตำแหน่งร่วมกับการเคลื่อนที่แบบหมุนด้วย เช่น
การเคลื่อนที่ของลูกบอล
ลูกกอล์ฟ ลูกเทนนิส ลูกปิงปอง
ล้อรถจักรยาน ซึ่งเป็นการหมุน รอบจุดศูนย์กลางมวล (เมื่อเคลื่อนที่อย่างอิสระ) และเป็นการหมุนรอบแกนคงตัว...อ่านต่อ